external-popup-close

คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ ทีทีบี
เพื่อเข้าสู่

https://www.ttbbank.com/

ตกลง

ประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน

การประเมินประเด็นสำคัญเป็นกระบวนการที่ช่วยให้ธนาคารได้รับข้อมูลสำหรับการวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจ จัดลำดับความสำคัญของผลกระทบจากประเด็นด้านความยั่งยืนแต่ละประเด็น และช่วยในการผนวกรวมเข้ากับการดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ทั่วทั้งธนาคาร ธนาคารได้ดำเนินการประเมินประเด็นสำคัญทุุก ๆ 2-3 ปี ด้วยความยืดหยุ่น และมีการทบทวนประเด็นสำคัญประจำปีเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถตอบสนองต่อพลวัตรความท้าทายและโอกาสทางด้านความยั่งยืนที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การประเมินประเด็นสำคัญก่อนหน้านี้ในปี 2562 และปี 2564 ดำเนินการสอดคล้องกับกรอบการประเมินประเด็นสำคัญแบบ Single Materiality โดยมุ่งเน้นที่ความสนใจของผู้มีส่วนได้เสียในประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดูแล แต่นับตั้งแต่ปี 2566 เป็นต้นไป ธนาคารได้นำแนวทางการการประเมินประเด็นสำคัญแบบ Double Materiality มาใช้ โดยจะพิจารณาว่าประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดูแลกระทบกับมูลค่าทางการเงินของธนาคาร (Financial Materiality) อย่างไร ควบคู่ไปกับการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในวงกว้าง (Impact Materiality) กระบวนการและผลการประเมินประเด็นสำคัญได้รับการรับรองโดยผู้บริหารระดับสูงของธนาคารและได้รับการอนุมัติโดยคณะกรรมการธนาคาร โดยธนาคารได้รวมผลการประเมินประเด็นสำคัญไว้ในการดำเนินธุรกิจทั่วทั้งธนาคาร รวมถึงในการบริหารจัดการความเสี่ยงองค์กร การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดู กลยุทธ์องค์กร และกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน

รายละเอียดเพิ่มเติม : รายงานการประเมินประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนและการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียประจำปี 2566

ประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน

การประเมินประเด็นสำคัญเป็นกระบวนการที่ช่วยให้ธนาคารได้รับข้อมูลสำหรับการวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจ จัดลำดับความสำคัญของผลกระทบจากประเด็นด้านความยั่งยืนแต่ละประเด็น และช่วยในการผนวกรวมเข้ากับการดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ทั่วทั้งธนาคาร ธนาคารได้ดำเนินการประเมินประเด็นสำคัญทุุก ๆ 2-3 ปี ด้วยความยืดหยุ่น และมีการทบทวนประเด็นสำคัญประจำปีเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถตอบสนองต่อพลวัตรความท้าทายและโอกาสทางด้านความยั่งยืนที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การประเมินประเด็นสำคัญก่อนหน้านี้ในปี 2562 และปี 2564 ดำเนินการสอดคล้องกับกรอบการประเมินประเด็นสำคัญแบบ Single Materiality โดยมุ่งเน้นที่ความสนใจของผู้มีส่วนได้เสียในประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดูแล แต่นับตั้งแต่ปี 2566 เป็นต้นไป ธนาคารได้นำแนวทางการการประเมินประเด็นสำคัญแบบ Double Materiality มาใช้ โดยจะพิจารณาว่าประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดูแลกระทบกับมูลค่าทางการเงินของธนาคาร (Financial Materiality) อย่างไร ควบคู่ไปกับการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในวงกว้าง (Impact Materiality) กระบวนการและผลการประเมินประเด็นสำคัญได้รับการรับรองโดยผู้บริหารระดับสูงของธนาคารและได้รับการอนุมัติโดยคณะกรรมการธนาคาร โดยธนาคารได้รวมผลการประเมินประเด็นสำคัญไว้ในการดำเนินธุรกิจทั่วทั้งธนาคาร รวมถึงในการบริหารจัดการความเสี่ยงองค์กร การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดู กลยุทธ์องค์กร และกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน

รายละเอียดเพิ่มเติม : รายงานการประเมินประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนและการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียประจำปี 2566

ประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน

การประเมินประเด็นสำคัญเป็นกระบวนการที่ช่วยให้ธนาคารได้รับข้อมูลสำหรับการวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจ จัดลำดับความสำคัญของผลกระทบจากประเด็นด้านความยั่งยืนแต่ละประเด็น และช่วยในการผนวกรวมเข้ากับการดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ทั่วทั้งธนาคาร ธนาคารได้ดำเนินการประเมินประเด็นสำคัญทุุก ๆ 2-3 ปี ด้วยความยืดหยุ่น และมีการทบทวนประเด็นสำคัญประจำปีเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถตอบสนองต่อพลวัตรความท้าทายและโอกาสทางด้านความยั่งยืนที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การประเมินประเด็นสำคัญก่อนหน้านี้ในปี 2562 และปี 2564 ดำเนินการสอดคล้องกับกรอบการประเมินประเด็นสำคัญแบบ Single Materiality โดยมุ่งเน้นที่ความสนใจของผู้มีส่วนได้เสียในประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดูแล แต่นับตั้งแต่ปี 2566 เป็นต้นไป ธนาคารได้นำแนวทางการการประเมินประเด็นสำคัญแบบ Double Materiality มาใช้ โดยจะพิจารณาว่าประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดูแลกระทบกับมูลค่าทางการเงินของธนาคาร (Financial Materiality) อย่างไร ควบคู่ไปกับการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในวงกว้าง (Impact Materiality) กระบวนการและผลการประเมินประเด็นสำคัญได้รับการรับรองโดยผู้บริหารระดับสูงของธนาคารและได้รับการอนุมัติโดยคณะกรรมการธนาคาร โดยธนาคารได้รวมผลการประเมินประเด็นสำคัญไว้ในการดำเนินธุรกิจทั่วทั้งธนาคาร รวมถึงในการบริหารจัดการความเสี่ยงองค์กร การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดู กลยุทธ์องค์กร และกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน

รายละเอียดเพิ่มเติม : รายงานการประเมินประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนและการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียประจำปี 2566