external-popup-close

คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ ทีทีบี
เพื่อเข้าสู่

https://www.ttbbank.com/

ตกลง

การกำกับดูแลด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Governance)

คณะกรรมการมีบทบาทในการกำกับดูแลความเสี่ยงของธนาคาร ตามกรอบการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ครอบคลุมถึงปัจจัยต่างๆ เช่น วัฒนธรรมความเสี่ยง Risk Appetite Statement (RAS) และบทบาทความรับผิดชอบที่ชัดเจนสำหรับพนักงานด้านการบริหารความเสี่ยงในหน่วยงานเฉพาะและหน่วยงานควบคุมดูแลในภาพรวม คณะกรรมการเป็นผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารความเสี่ยงโดยรวมขององค์กรและกำกับดูแลเพื่อให้มั่นใจว่ากรอบการบริหารความเสี่ยงที่กำหนดจะได้รับการสื่อสารไปยังหน่วยงานต่างๆ ทั่วทั้งองค์กร เพื่อให้การกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการ Risk Oversight Committee (ROC) โดยมีหน้าที่ทบทวนและบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งอนุมัติกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง นโยบาย กรอบและมาตรฐานในการดำเนินงาน ตลอดจนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้

 

การกำกับดูแลด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Governance)

คณะกรรมการมีบทบาทในการกำกับดูแลความเสี่ยงของธนาคาร ตามกรอบการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ครอบคลุมถึงปัจจัยต่างๆ เช่น วัฒนธรรมความเสี่ยง Risk Appetite Statement (RAS) และบทบาทความรับผิดชอบที่ชัดเจนสำหรับพนักงานด้านการบริหารความเสี่ยงในหน่วยงานเฉพาะและหน่วยงานควบคุมดูแลในภาพรวม คณะกรรมการเป็นผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารความเสี่ยงโดยรวมขององค์กรและกำกับดูแลเพื่อให้มั่นใจว่ากรอบการบริหารความเสี่ยงที่กำหนดจะได้รับการสื่อสารไปยังหน่วยงานต่างๆ ทั่วทั้งองค์กร เพื่อให้การกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการ Risk Oversight Committee (ROC) โดยมีหน้าที่ทบทวนและบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งอนุมัติกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง นโยบาย กรอบและมาตรฐานในการดำเนินงาน ตลอดจนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้

 

การกำกับดูแลด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Governance)

คณะกรรมการมีบทบาทในการกำกับดูแลความเสี่ยงของธนาคาร ตามกรอบการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ครอบคลุมถึงปัจจัยต่างๆ เช่น วัฒนธรรมความเสี่ยง Risk Appetite Statement (RAS) และบทบาทความรับผิดชอบที่ชัดเจนสำหรับพนักงานด้านการบริหารความเสี่ยงในหน่วยงานเฉพาะและหน่วยงานควบคุมดูแลในภาพรวม คณะกรรมการเป็นผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารความเสี่ยงโดยรวมขององค์กรและกำกับดูแลเพื่อให้มั่นใจว่ากรอบการบริหารความเสี่ยงที่กำหนดจะได้รับการสื่อสารไปยังหน่วยงานต่างๆ ทั่วทั้งองค์กร เพื่อให้การกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการ Risk Oversight Committee (ROC) โดยมีหน้าที่ทบทวนและบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งอนุมัติกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง นโยบาย กรอบและมาตรฐานในการดำเนินงาน ตลอดจนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้

 

การกำกับดูแลด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Governance)

คณะกรรมการมีบทบาทในการกำกับดูแลความเสี่ยงของธนาคาร ตามกรอบการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ครอบคลุมถึงปัจจัยต่างๆ เช่น วัฒนธรรมความเสี่ยง Risk Appetite Statement (RAS) และบทบาทความรับผิดชอบที่ชัดเจนสำหรับพนักงานด้านการบริหารความเสี่ยงในหน่วยงานเฉพาะและหน่วยงานควบคุมดูแลในภาพรวม คณะกรรมการเป็นผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารความเสี่ยงโดยรวมขององค์กรและกำกับดูแลเพื่อให้มั่นใจว่ากรอบการบริหารความเสี่ยงที่กำหนดจะได้รับการสื่อสารไปยังหน่วยงานต่างๆ ทั่วทั้งองค์กร เพื่อให้การกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการ Risk Oversight Committee (ROC) โดยมีหน้าที่ทบทวนและบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งอนุมัติกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง นโยบาย กรอบและมาตรฐานในการดำเนินงาน ตลอดจนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้